สินค้าอื่นๆ
Eco Energy Device
อุปกรณ์ปรับปรุงกระแสไฟฟ้าด้วยตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด
- ปรับปรุงคุณภาพกระแสไฟฟ้าด้วยตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด
- การันตีการประหยัดไฟฟ้าในระบบ 8-15%*
- ลดสัญญาณรบกวนทางไฟฟ้าและ Harmonic
- ไม่มีอุปกรณ์ภายในที่เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า
- ไม่ต้องการการซ่อมบำรุงหรือดูแลรักษา
- ไม่เป็นภาระของผู้ประกอบการ
- อายุการใช้งานยาวนานกว่า 10 ปี
- เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- ปลอดภัยด้วยมาตรฐานการผลิตระดับสากล
- สินค้านำเข้าจากประเทศเกาหลีใต้
“ Eco Energy Device เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดยใช้หลักการของการลดการสูญเสียพลังงานในรูปแบบของพลังงานความร้อน โดยการปรับปรุงการไหลของกระแสไฟฟ้า ตามทฤษฎีการสูญเสียพลังงานความร้อนจากความต้านทานทางไฟฟ้า โดยอุปกรณ์จะทำการลดการสูญเสียพลังงาน หรือการทำให้เกิดการใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยลง นั่นคือการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและทำให้เกิดการประหยัดไฟฟ้า “
จากการค้นพบตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดหรือเรียกว่า Superconductor ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ความต้านทานทางไฟฟ้าของวัสดุมีค่าเป็นศูนย์และเส้นแรงแม่เหล็กถูกผลักออกจากตัวนำยิ่งยวดซึ่งเกิดขึ้นเมื่อตัวนำยิ่งยวดถูกทำให้เย็นลงต่ำกว่าอุณหภูมิหนึ่ง เรียกว่าอุณหภูมิวิกฤต (Tc) โดยทฤษฎีดังกล่าวถูกค้นพบโดย ศาสตราจารย์ ไฮเกรย์ คาร์เมริ่ง ออนเนส (Mr.Heike Kamerlingh Onnes) นักฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยไลเดน ประเทศเนเธอแลนด์ โดยการค้นพบดังกล่าวเกิดขึ้นโดยการศึกษาความต้านทานทางไฟฟ้าของโลหะปรอทแข็งที่อุณหภูมิต่ำโดยใช้ฮีเลียมเหลวเป็นตัวทำความเย็น ซึ่งการค้นพบดังกล่าวทำให้ศาสตราจารย์ ออนเนส ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1913 นับเป็นการค้นพบเป็นครั้งแรกของโลก โดยหลักการและทฤษฎีการค้นพบดังกล่าวถูกนำมาพัฒนาและต่อยอดการพัฒนาอีกมากมายและเกิดการค้นคว้าวัสดุที่สามารถเกิดเป็นสภาวะตัวนำยิ่งยวดได้อีกหลายวัสดุ รวมทั้งสายส่งไฟฟ้าและตัวเก็บไฟฟ้าในเวลาต่อมา
ด้วยวิทยาการในพัฒนาสารตัวนำยิ่งยวดเพื่อนำกระแสไฟฟ้าแบบไร้แรงต้านทาน จึงทำให้เกิดอุปกรณ์ที่ช่วยในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า Eco Energy Device ที่พัฒนาวัสดุและอุปกรณ์ให้เกิดสภาวะตัวนำยิ่งยวดได้ แม้ในอุณหภูมิปกติโดยเกิดจากปฏิกิริยาของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กับสารประกอบในตัวอุปกรณ์เพื่อทำให้เกิดสภาวะตัวนำยิ่งยวด และไหลเข้าไปในวงจรไฟฟ้าเพื่อลดแรงต้านทานทางไฟฟ้า โดยการต่ออุปกรณ์ขนานเข้ากับระบบเพื่อลดความต้านทางทางไฟฟ้า และเมื่อระยะเวลาผ่านไประยะหนึ่งกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านก็จะเกิดการปรับปรุงในระบบ ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ไฟฟ้านำไปสู่การประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่สามารถพิสูจน์ได้
และหลังจากนั้นเมื่อทำการต่อขนานเข้ากับแหล่งจ่ายหรือระบบไฟฟ้า อิเล็กตรอนที่ถูกจัดเรียงแล้วดังกล่าวจะเดินทางเข้าไปยังระบบไฟฟ้าได้ไกลในระยะหนึ่ง ทำให้ระบบไฟฟ้ามีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้นกว่าสภาวะปกติ ทำการการสูญเสียพลังงานในระบบลดลง โดยเฉพาะกับภาระโหลดที่เป็นตัวเหนี่ยวนำ (Inductive Load)
Eco Energy Device ใช้กับภาระทางไฟฟ้าแบบไหนได้บ้าง ?
Eco Energy Device ประหยัดพลังงานได้กี่ %?
Eco มีประสิทธิภาพสูงสุดในโหลดที่มีส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นประเภทเหนี่ยวนำไฟฟ้า (Inductive Load) เช่น มอเตอร์ , เครื่องปรับอากาศ , ปั๊มน้ำ ฯลฯ โดยอัตราการประหยัดพลังงานจะอยู่ที่ 8-15% โดยเฉลี่ย โดยจะสามารถวัดผลการประหยัดไฟฟ้าและประสิทธิภาพได้เป็นอย่างดีเมื่อใช้กับโหลดที่ประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำเท่ากับ 60% หรือมากกว่า สำหรับการใช้งานในโหลดผสม (Complex Load) จะมีอัตราการประหยัดพลังงานอยู่ที่ประมาณ 5-12% โดยปัจจัยที่ควรคำนึงถึงคือสถานประกอบการนั้นควรมีปัจจัยของภาระงานเกินกว่า 70% ของปัจจัยงาน และโหลดควรประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้ามากกว่า 60%
Eco Energy Device ติดตั้งอย่างไร ?
Eco Energy Device มีอายุการใช้งานกี่ปี
สินค้าอื่นๆ
Eco Energy Device
อุปกรณ์ปรับปรุงกระแสไฟฟ้าด้วยตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด
- ปรับปรุงคุณภาพกระแสไฟฟ้าด้วยตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด
- การันตีการประหยัดไฟฟ้าในระบบ 8-15%*
- ลดสัญญาณรบกวนทางไฟฟ้าและ Harmonic
- ไม่มีอุปกรณ์ภายในที่เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า
- ไม่ต้องการการซ่อมบำรุงหรือดูแลรักษา
- ไม่เป็นภาระของผู้ประกอบการ
- อายุการใช้งานยาวนานกว่า 10 ปี
- เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- ปลอดภัยด้วยมาตรฐานการผลิตระดับสากล
- สินค้านำเข้าจากประเทศเกาหลีใต้
“ Eco Energy Device เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดยใช้หลักการของการลดการสูญเสียพลังงานในรูปแบบของพลังงานความร้อน โดยการปรับปรุงการไหลของกระแสไฟฟ้า ตามทฤษฎีการสูญเสียพลังงานความร้อนจากความต้านทานทางไฟฟ้า โดยอุปกรณ์จะทำการลดการสูญเสียพลังงาน หรือการทำให้เกิดการใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยลง นั่นคือการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและทำให้เกิดการประหยัดไฟฟ้า “
จากการค้นพบตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดหรือเรียกว่า Superconductor ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ความต้านทานทางไฟฟ้าของวัสดุมีค่าเป็นศูนย์และเส้นแรงแม่เหล็กถูกผลักออกจากตัวนำยิ่งยวดซึ่งเกิดขึ้นเมื่อตัวนำยิ่งยวดถูกทำให้เย็นลงต่ำกว่าอุณหภูมิหนึ่ง เรียกว่าอุณหภูมิวิกฤต (Tc) โดยทฤษฎีดังกล่าวถูกค้นพบโดย ศาสตราจารย์ ไฮเกรย์ คาร์เมริ่ง ออนเนส (Mr.Heike Kamerlingh Onnes) นักฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยไลเดน ประเทศเนเธอแลนด์ โดยการค้นพบดังกล่าวเกิดขึ้นโดยการศึกษาความต้านทานทางไฟฟ้าของโลหะปรอทแข็งที่อุณหภูมิต่ำโดยใช้ฮีเลียมเหลวเป็นตัวทำความเย็น ซึ่งการค้นพบดังกล่าวทำให้ศาสตราจารย์ ออนเนส ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ.1913 นับเป็นการค้นพบเป็นครั้งแรกของโลก โดยหลักการและทฤษฎีการค้นพบดังกล่าวถูกนำมาพัฒนาและต่อยอดการพัฒนาอีกมากมายและเกิดการค้นคว้าวัสดุที่สามารถเกิดเป็นสภาวะตัวนำยิ่งยวดได้อีกหลายวัสดุ รวมทั้งสายส่งไฟฟ้าและตัวเก็บไฟฟ้าในเวลาต่อมา
ด้วยวิทยาการในพัฒนาสารตัวนำยิ่งยวดเพื่อนำกระแสไฟฟ้าแบบไร้แรงต้านทาน จึงทำให้เกิดอุปกรณ์ที่ช่วยในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า Eco Energy Device ที่พัฒนาวัสดุและอุปกรณ์ให้เกิดสภาวะตัวนำยิ่งยวดได้ แม้ในอุณหภูมิปกติโดยเกิดจากปฏิกิริยาของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กับสารประกอบในตัวอุปกรณ์เพื่อทำให้เกิดสภาวะตัวนำยิ่งยวด และไหลเข้าไปในวงจรไฟฟ้าเพื่อลดแรงต้านทานทางไฟฟ้า โดยการต่ออุปกรณ์ขนานเข้ากับระบบเพื่อลดความต้านทางทางไฟฟ้า และเมื่อระยะเวลาผ่านไประยะหนึ่งกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านก็จะเกิดการปรับปรุงในระบบ ทำให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้ไฟฟ้านำไปสู่การประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่สามารถพิสูจน์ได้
และหลังจากนั้นเมื่อทำการต่อขนานเข้ากับแหล่งจ่ายหรือระบบไฟฟ้า อิเล็กตรอนที่ถูกจัดเรียงแล้วดังกล่าวจะเดินทางเข้าไปยังระบบไฟฟ้าได้ไกลในระยะหนึ่ง ทำให้ระบบไฟฟ้ามีสภาพการนำไฟฟ้าที่ดีขึ้นกว่าสภาวะปกติ ทำการการสูญเสียพลังงานในระบบลดลง โดยเฉพาะกับภาระโหลดที่เป็นตัวเหนี่ยวนำ (Inductive Load)
Eco Energy Device ใช้กับภาระทางไฟฟ้าแบบไหนได้บ้าง ?
Eco Energy Device ประหยัดพลังงานได้กี่ %?
Eco มีประสิทธิภาพสูงสุดในโหลดที่มีส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นประเภทเหนี่ยวนำไฟฟ้า (Inductive Load) เช่น มอเตอร์ , เครื่องปรับอากาศ , ปั๊มน้ำ ฯลฯ โดยอัตราการประหยัดพลังงานจะอยู่ที่ 8-15% โดยเฉลี่ย โดยจะสามารถวัดผลการประหยัดไฟฟ้าและประสิทธิภาพได้เป็นอย่างดีเมื่อใช้กับโหลดที่ประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำเท่ากับ 60% หรือมากกว่า สำหรับการใช้งานในโหลดผสม (Complex Load) จะมีอัตราการประหยัดพลังงานอยู่ที่ประมาณ 5-12% โดยปัจจัยที่ควรคำนึงถึงคือสถานประกอบการนั้นควรมีปัจจัยของภาระงานเกินกว่า 70% ของปัจจัยงาน และโหลดควรประกอบด้วยตัวเหนี่ยวนำไฟฟ้ามากกว่า 60%